วันนี้แอดมินมี เรื่องน่ารู้ มานำเสนอ ก็จะมาพูดถึง ที่มาของไท่กั๋ว ทำไมคนจีนถึงเรียกคนไทยแบบนี้ แล้วพวกคนจีนเนี่ย เริ่มเรียกคนไทยว่าไท่กั๋วมาตั้งแต่เมื่อไหร่ เดี๋ยววันนี้แอดมินจะมาเล่าให้ฟังกันค่ะ แต่ก่อนที่จะไป แอดมินก็ต้องขอฝากให้ไปติดตาม คำสาปราชวงศ์  กันด้วยนะคะ แล้วในวันนี้แอดมินก็ต้องขอขอบคุณ สล็อตPG ที่สนับสนุนบทความของเราในวันนี้ด้วยค่ะ ถ้าพร้อมแล้วเรามาเริ่มกันได้เลยค่ะ

ที่มาของไท่กั๋ว ทำไมคนจีนถึงเรียกคนไทยแบบนี้

ทางประเทศไทยเนี่ยเค้าบันทึกประวัติศาสตร์อย่างไรอันนี้แอดมินก็ไม่ได้แน่ใจนะคะ แต่เราจะมาพูดถึงฝั่งของคนจีนกันค่ะ เริ่มแรกแอดมินก็จะอธิบายให้ฟังนิดนึงก่อนว่า ต้องบอกแบบนี้ก่อนนะคะ ว่าในสมัยก่อนเนี่ยคนจีน จะเรียกคนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ว่า ตงหนานย่า คือประเทศต่างๆไม่ใช่แค่เรียกเหมือนทุกวันนี้ว่า สิงคโปร์ก็คือ ซินเจียโพ หรือว่าเรียกประเทศไทยว่า ไท่กั๋ว หรือว่าเรียกลาวว่า เหล่าวอ

หรือว่าเรียกประเทศพม่าว่า เหมี่ยนเตี่ยน ในเมื่อเมื่อก่อนโบราณ เค้ามีชื่อเรียกอีกแบบนึง สำหรับประเทศที่อยู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นะคะ ยกตัวอย่างเช่น ประเทศกัมพูชา จะเรียกว่า เจี๋ยนผูไจ้ ที่ทุกวันนี้ เราเรียกเป็นภาษาจีนแบบนี้นะคะ เมื่อก่อนเค้าเรียกว่า เกาเหมียน ก็คือเป็นเขมรนะคะ แล้วก็ประเทศพม่า ภาษาจีนกันทุกวันนี้ เราเรียกว่า เหมี่ยนเตี้ยน แต่เมื่อก่อนแถวบริเวณนั้น เค้าเรียกว่า ซ่านกั๋ว นะคะ 

อย่างประเทศฟิลิปปินส์ ทุกวันนี้เราเรียกว่า เฟยลี่ปิน แต่ว่าเมื่อก่อนเค้าเรียกว่า หลี่ซ่ง อย่างประเทศอินโดนีเซีย ทุกวันนี้เราเรียกว่า อิ้งหนี หรือว่า อิ้งตู้หนีซีย่า ก็คือแปลจากคำออกเสียงนะคะ แต่เมื่อก่อนจะเรียกว่า จ่าววา ซึ่งเหมือนกันประเทศไทย ทุกวันนี้เราเรียกว่า ไท่กั๋ว แต่ในสมัยก่อนคนใทยไม่ได้เรียกคำนี้ค่ะคนจีนใช้คำว่า เซียนหลัว ถ้าจะแปลตรงก็คือคำว่าสยามนั่นเองค่ะ ทีนี้เราพอเข้าใจแล้วว่าเมื่อก่อนนี้มันมีชื่อ

เรียกอีกแบบหนึ่ง แล้วเราค่อยมาเข้าเรื่องที่ว่าเมื่อไหร่มาเปลี่ยนเป็น ไท่กั๋ว กันนะคะที่จริงคำว่า เซียนหลัว แต่ช่วงราชวงศ์หยวนของประเทศประเทศจีนนะคะ คำนี้ก็เริ่มใช้กันแล้วค่ะ ในปีค.ศ. ประมาณ 1296 นะคะจะมีทูตของราชวงศ์หยวนคนนึงนะคะ เค้าไปดูงานไปเหมือนไปประชาสัมพันธ์ ทางบริเวณกัมพูชาของทุกวันนี้นะคะ แล้วเค้าก็เขียนหนังสือก็คือไปตลอดทางและเห็นว่าวัฒนธรรมเค้า ก็เขียนหนังสือเล่มหนึ่งขึ้นมา

ชื่อว่า เจิ่นล่าฟงถู่จี้ ก็เหมือนพวกวัฒนธรรมประเพณี การบันทึกอะไรแบบนี้ค่ะ แล้วก็ในหนังสือเล่มนั้นนะคะ ก็มีผู้ถือแถวบริเวณประเทศไทยในปัจจุบันครั้งแรกเลยนะคะ เค้าเรียกว่า เซียนหลัว แต่ตอนนั้นที่เค้าหมายถึงคือไม่ใช่ประเทศเดียวนะคะ คือหมายถึงบริเวณหนึ่ง ซึ่งหมายถึงบริเวณนั้นมีสองประเทศเล็กๆ มาก่อนนะคะ หนึ่งก็คือเป็นอาณาจักรละโว้ ที่มีเมืองหลวงเป็นจังหวัดลพบุรีของปัจจุบันนี้นะคะ

แถบบริเวณนี้ แล้วอีกประเทศหนึ่งก็คือ ตอนนั้นเค้าเรียกว่าอาณาจักรอยุธยาค่ะ ซึ่งอยุธยาเมื่อก่อนคือเค้าเรียกภาษาจีนเรียกว่า เซียนกั๋ว แล้วก็อาณาจักรละโว้ ประเทศจีนเค้าเรียกว่า หลัวหูกั๋ว เค้าก็เอาแถวบริเวณนี้ก็คือสองประเทศนี้ เค้าเรียกว่า เซียนหลัว แต่สุดท้ายก็คืออาณาจักรละโว้ ก็คือโดนอาอยุธยาเอาเป็นก้อนเดียวกัน สุดท้ายแล้วในช่วงราชวงศ์หมิง ในช่วงจูหยวนซาง ก็คือเป็นฮ่องเต้ขององค์แรกของราชวงศ์หมิง

เค้าก็เลยเรียกบริเวณประเทศไทยว่า เซียนหลัว อย่างเป็นทางการค่ะ ซึ่งราชวงศ์หยวนก็จะเรียกแบบนี้แล้วแต่เรียกแบบทั่วประเทศ ให้ทางการจริงๆว่า แถวบริเวณนั้นเราเรียกว่าเซียนหลัว หรือหมายความว่าสยาม ช่วงราชวงศ์หมิงค่ะ แล้วช่วงราชวงศ์หมิง ก็คือแถวบริเวณสยาม ก็คือเซียนหลัว เค้าก็ก็มีเหมือนกับความสัมพันธ์ที่ค่อนข้างดีกับราชวงศ์หมิงนะคะ ก็คือมีการไปมาค้าขายบ้าง ส่งนั่นส่งนี่บ้างนะคะ

ที่มาของไท่กั๋ว

แต่ทีนี้คำว่าเซียนที่ประเทศจีนเรียกประเทศไทย ในเมื่อเมื่อก่อนมันมีแต่คนจีนนะคะ ที่พูดภาษาจีน เค้าเรียกแบบนี้กันส่วนข้างนอกต่างประเทศ เค้าก็เรียกสยามนะคะ แปลตรงตัวมาเลย แต่พอมาถึงปีค.ศ. 1939 ก็คือประเทศไทยเปลี่ยนชื่อแล้วค่ะ คือจากสยามเปลี่ยนเป็น ประเทศไทย แล้วตั้งแต่ตอนนั้นนะคะ คนจีนก็เหมือนกันคือเริ่มจากว่าเรียกว่าเซียนหลัว เริ่มทยอยมีคนบอกว่า เปลี่ยนประเทศแล้ว ก็เลยเริ่มมีการคุ้นเคย

กับคำว่า ไท่กั๋ว แล้วหลายคนอาจจะงงนะคะ ว่าทำไมต้องเป็นคำว่า ไท่กั๋ว เพราะว่าเวลาเราแปลในภาษาจีน คนจีนมักจะชอบใช้คำที่เสียงคล้ายกับภาษาของประเทศนั้นนะคะ มาแปลเช่น ประเทศอังกฤษ เราจะเรียกคำว่า อิงกั๋ว ซึ่งคำว่ากั๋ว จะมีความหมายว่าประเทศ อย่างอเมริกาเรียกว่า เหม่ยกั๋ว เพราะฉะนั้นประเทศไทยเค้าจึงใช้คำว่า ไท่ นอกจากนี้ถ้าเป็นประเทศชื่อยาวก็คือเรียกชื่อเต็มของประเทศไปเลยค่ะ

แต่ทีนี้คนที่รู้ภาษาจีนกลางนะคะ ก็จะพอรู้ว่าภาษาจีนเนี่ย คือคำนึงเนี่ยอ่านได้หลายเสียง แล้วบางทีเสียงเดียวกันอาจจะมีตัวหนังสือไม่เหมือนกันก็ได้ เพราะฉะนั้นเราจะพยายามเลือกตัวหนังสือที่ออกเสียงนี้ ที่มีความหมายนะคะ อย่างเช่นคำว่า ไท่กั๋ว คำว่า ไท่ ถ้าจะอ่านเสียงนี้เนี่ย มีหลายคำมากเลยนะคะ แต่ว่าตัวอักษรนี้เนี่ย จะมีความหมายว่าสงบ แล้วก็ความปลอดภัยค่ะ ก็อาจจะเกี่ยวกับที่ประเทศไทย

มีคนนับถือศาสนาเยอะ แล้วก็ดูแล้วสงบ ตอนนั้นทำไมคนต้องตั้งเป็นคำนี้ ก็คือแอดมินคิดว่าน่าจะเกี่ยวกับความหมายของตัวหนังสือด้วยนะคะ อาจจะมีหลายคนสงสัยว่า แล้วเมื่อก่อนทำไม เค้าต้องตั้งคำว่าเซียนหลัว ซึ่งคำว่าเซียน กับคำว่าหลัว มีหลายคนอธิบายมาหลายแบบมากเลยนะคะ แต่แอดมินเห็นที่เค้าอธิบายแบบนึงที่น่าสนใจ ก็คือคำว่าเซียนในภาษาจีน มีความหมายว่าพระอาทิตย์ขึ้น ก็คือแสงอาทิตย์

เยอะ ที่ตั้งของประเทศไทยคือเป็นที่ที่มีอากาศร้อน คือแสงเยอะ แสงจ้า แสงแรง ก็เลยใช้คำว่าเซียน แล้วก็คำว่าหลัว คือแปลตรงตัวก็คือรวมสิ่งต่างๆ หรือว่าการเรียงลำดับบางอย่าง แต่เราสามารถเข้าใจได้ อย่างงี้ก็คือประเทศไทย ที่ร้อนที่ชื้นเวลาปลูกอะไรก็ขึ้นง่าย เพราะฉะนั้นดินของเราคือรวมทุกอย่างเอาไว้ เพราะฉะนั้นก็เลยเรียกว่าเซียนหลัว ก็คืออาจจะเกี่ยวกับแบบนี้ด้วยนะคะ ความจริงแล้วถ้าถามก็คือ

เซียนหลัวคำที่ผสมกันแล้วมีคำแปลไหม ความจริงแล้วก็คือไม่มีค่ะ เป็นชื่อเก่าของประเทศไทยไปเลยภาษาจีนก็เป็นแบบนี้แหละค่ะ แต่ละคำอาจจะมีความหมาย แต่พอเรามาผสมกัน อาจจะเป็นแค่ชื่อ หรือเป็นอะไรบางอย่าง แต่ไม่มีความหมายก็ได้ค่ะ สรุปก็คือคนจีนเริ่มเรียกคำว่าถก ก็คือเริ่มพร้อมกันจากการที่ประเทศไทย เปลี่ยนชื่อประเทศของเรานั่นเองค่ะ จากคำว่าสยามเป็นประเทศไทย